สงครามกิลด์ แย่งชิงดินแดน!!
เวลากิจกรรม: อังคารและเสาร์ เวลา 21:00~21:45 (เริ่มหลังเปิดเซิร์ฟ 15 วัน)
ระดับเข้าร่วม: Lv. 20
1. ระบบพื้นฐาน สงครามกิลด์จะมีแผนที่ ที่ให้ผู้เล่นต่อสู้แย่งชิงเมืองมาเป็นของกิลด์ตนเอง แต่ละกิลด์สามารถยึดครองได้แค่ 1 เมือง หลังจากที่กิลด์ยึดครอง เมืองระดับที่สูงกว่าได้จะทำการทิ้งเมืองระดับต่ำอัตโนมัติ เมืองที่ยึดได้ตอนนี้แบ่งเป็น 3 ระดับคือเมืองหลัก, ชุมชน, นอกเมือง หลังจากกิลด์ยึดครองเมืองตามระดับของรางวัลที่ได้รับก็จะไม่เหมือนกัน หลังจากกิลด์ยึดครองเมืองสำเร็จ การยึดเมืองต่อไปจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของแต่ละเมือง
2. โครงสร้างดินแดน ระดับของเมือง: เมืองหลัก 1 เมือง, ชุมชน 4 เมือง, นอกเมือง 8 เมือง ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของระหว่างดินแดน ดังรูปล่าง
3. ขั้นตอนการแย่งชิงเมือง ตามสถานการณ์ที่กิลด์ยึดครองดินแดน ขั้นตอนการแย่งชิงก็จะไม่เหมือนกัน
กิลด์ที่ไม่มีดินแดน ก่อนที่สงครามกิลด์จะเริ่ม สามารถประกาศสงครามกับเมืองใดก็ได้ และมีสิทธ์โจมตีแย่งชิงเมืองที่ถูกประกาศสงคราม
ยึดเมืองหลัก กิลด์ที่ยึดเมืองหลักอยู่แล้ว จะเป็นได้เพียงแค่ฝ่ายป้องกันเท่านั้น
ยึดเขตชุมชน กิลด์ที่ยึดชุมชนอยู่แล้ว จะสามารถประกาศสงครามเป็นฝ่ายโจมตีแย่งชิงเมืองหลักได้ ขณะเดียวกันก็สามารถจะเป็นฝ่ายป้องกันเมืองชุมชนที่ยึดครองอยู่แล้วได้เช่นกัน
ยึดเขตนอกเมือง กิลด์ที่ยึดเขตนอกเมืองอยู่แล้ว จะโจมตีแย่งชิงเมืองเขตชุมชนที่เชื่อมโยงกันได้ ขณะเดียวกันก็สามารถจะเป็นฝ่ายป้องกันเมืองเขตนอกเมืองที่ยึดครองอยู่แล้วได้เช่นกัน
4. ค่ายต่อสู้ ในสงครามกิลด์แย่งชิงดินแดนเปิดเป็นโหมด PK กิลด์ จะมีจุดเกิดที่เป็นค่ายต่อสู้ที่เป็นของกิลด์ เช่น เสามังกรที่ยึดครอง
5. โครงสร้างพื้นฐาน ในสนามต่อสู้หลักๆ จะมี 2 ฝ่าย คือ โจมตี และ ป้องกัน แต่ละฝ่ายจะมีองค์ประกอบสนามรบไม่เหมือนกัน
ฝ่ายโจมตี
1. ค่ายต่อสู้ ค่ายต่อสู้เป็นจุดเกิดใหม่ของฝ่ายโจมตี และเป็นจุดเข้าร่วมรบของสมาชิกกิลด์ที่ไม่มีดินแดน ทางออกค่อนข้างใหญ่ ตามการเชื่อมโยงและระดับของเมือง จำนวนค่ายต่อสู้ที่มีก็ไม่เหมือนกัน
จำนวนของค่ายต่อสู้จะมีความเกี่ยวข้องกับจำนวนดินแดนที่เชื่อมโยง
เมืองหลักมี 4 ค่ายต่อสู้ แต่ละค่ายสอดคล้องกับชุมชนที่เชื่อมโยง
ชุมชนมี 2 ค่ายต่อสู้ แต่ละค่ายสอดคล้องกับนอกเมืองที่เชื่อมโยง
นอกเมืองไม่มีเชื่อมโยงดินแดน ค่อนข้างพิเศษ มี 3 ค่ายต่อสู้
2. กลับดินแดน ในแต่ละค่ายต่อสู้จะมีค่ายวาร์ปกลับดินแดนที่ระดับต่ำ 1 อัน มีเพียงสมาชิกที่เป็นเจ้าของดินแดนที่วาร์ปนี้ จึงจะสามารถใช้มันกลับดินแดนได้ นอกเมืองไม่มีเชื่อมโยงดินแดนระดับต่ำดังนั้นไม่มีดินแดนกลับ
ฝ่ายป้องกัน
1. หลังค่าย หลังค่ายคือจุดเกิดใหม่ของสมาชิกกิลด์ฝ่ายป้องกันกิลด์ที่ยึดครองดินแดนนี้ และเป็นจุดเข้าร่วมรบของกิลด์ที่มีดินแดนทางออกค่อนข้างใหญ่
2. ไปแผนที่ประกาศสงคราม ที่ข้างๆหลังค่าย จะมีค่ายวาร์ปที่ไปดินแดนที่แย่งชิง 1 อัน เมืองหลักจะไม่มีค่ายวาร์ปนี้ เพราะมันไม่มีเชื่อมโยงดินแดนที่ระดับสูงกว่า ไม่มีดินแดนแย่งชิง จุดหมายของค่ายวาร์ปนี้ คือค่ายต่อสู้ของดินแดนระดับสูงที่ดินแดนตอนนี้เชื่อมโยง มีเพียงสมาชิกกิลด์เจ้าของดินแดนของดินแดนสามารถใช้ค่ายวาร์ปนี้ได้
3. ประตูเมือง มีเพียงเมืองหลักและชุมชนที่มีประตูเมือง เมืองหลัก 3อัน, ชุมชน 2 อัน ประตูเมืองจะขัดขวางฝ่ายโจมตีเข้าสู่ลานกว้างในเมืองที่ติดตั้งเสามังกร
4. ออกเมืองโจมตี ก่อนประตูเมืองพัง ฝ่ายป้องกันสามารถใช้ประตูใหญ่ วาร์ปออกไปโจมตีศัตรู ก่อกวนการโจมตีเมืองได้
5. เสามังกร แต่ละดินแดนมีเสามังกรของตัวเอง สามารถถูกโจมตีทำการยึดครองได้ เมืองหลักและชุมชนมีเสามังกร 3 อัน, นอกเมืองมีเสามังกร 1 อัน เมื่อต่อสู้สิ้นสุด ตามจำนวนการยึดครองเสามังกรตัดสินว่าดินแดนนี้เป็นของใคร
6. ขั้นตอนพื้นฐาน
ประกาศสงคราม กิลด์ที่มีดินแดนแล้ว จะประกาศสงครามได้เฉพาะดินแดนระดับสูงกว่า กิลด์ที่ไม่มีดินแดน(หัวหน้าหรือรอง) ที่ในหน้าต่างสงครามกิลด์เลือกประกาศสงครามกับดินแดนใดก็ได้ วันที่สงครามดินแดนเปิด 00.0น. สามารถเริ่มประกาศสงครามได้ ก่อนการต่อสู้เริ่มสามารถเปลี่ยนเป้าหมายประกาศสงครามได้ทุกเมื่อ กิลด์ที่ไม่ได้ประกาศสงครามหลังสงครามเริ่มไปแล้วจะไม่สามารถเข้าร่วมต่อสู้ได้ เมื่อกิลด์ไม่ได้ประกาศสงคราม ก่อนการต่อสู้เริ่ม 5 นาทีที่ช่องทางกิลด์จะขึ้นประกาศแจ้งเตือน
วิธีเข้า ที่หน้าต่างกิจกรรมเมื่อสงครามกิลด์เริ่มไปที่หน้าต่างกิจกรรม กดเข้าร่วมการต่อสู้
เมื่อกิจกรรมเริ่มจะปรากฏเครื่องหมายตกใจเตือนรวมตัว ผู้เล่นสามารถคลิกเข้าต่อสู้ (มีเพียงสมาชิกกิลด์ที่ประกาศสงครามแล้วจึงจะขึ้นแจ้ง)
ตำแหน่งที่เข้า กิลด์ที่มีดินแดนเมื่อสมาชิกเข้าต่อสู้จะปรากฏที่หลังค่าย กิลด์ที่ไม่มีดินแดนเมื่อสมาชิกเข้าปรากฏที่ค่ายต่อสู้
ขั้นแย่งชิง หลังจากสงครามกิลด์เริ่ม 5 นาทีแรกสิ่งกีดขวางที่หน้าค่ายจะยังไม่เปิด ผู้เล่นเข้าไปไม่ได้ และที่หน้าต่างขึ้นแจ้งนับเวลาถอยหลังเริ่มต่อสู้
จัดสรรค่ายต่อสู้ กิลด์ที่มีดินแดนจัดสรรค่ายต่อสู้ที่เหมาะสม กิลด์ที่ไม่มีดินแดนเมื่อการต่อสู้เริ่มตามจำนวนของกิลด์เหล่านี้ เฉลี่ยถูกจัดสรรไปที่ค่ายต่อสู้ต่างๆ
ตายเกิดใหม่ ที่แผนที่ป้องกันเมื่อตายก็จะเกิดใหม่ที่หลังค่าย ที่แผนที่โจมตีเมื่อตายก็จะเกิดใหม่ที่ค่ายต่อสู้ของกิลด์ตัวเอง
ยึดเสามังกร เสามังกรแบ่งเป็น 2 ประเภท หลังจากเสามังกรพัง จะเกิดใหม่เป็นเสามังกรของกิลด์ที่สร้างความเสียหายมากสุด และเอาชื่อกิลด์ทำเป็นชื่อเสามังกร PS เวลาเกิดใหม่ของเสามังกรคือ 5s
เสามังกรใหญ่: เสามังกรส่องสว่าง
เสามังกรเล็ก: เสามังกรเหย่ฮัว, เสามังกรซิงฮุย
PS เวลาเกิดใหม่ของเสามังกรคือ 5s
7. กฎแพ้-ชนะ กิลด์ที่ยึดเสามังกรได้มากที่สุดจะเป็นฝ่ายชนะ เมื่อจำนวนยึดเสามังกรเท่ากัน กิลด์ที่ยึดเสามังกรส่องสว่างจะได้รับชัยชนะ เมื่อกิลด์ยึดครองเสาได้มากกว่า 1 เมือง ระบบจะบังคับเลือกครองเมืองที่มีระดับสูงกว่าอัตโนมัติ เมืองที่เป็นระดับต่ำก็จะไม่มีเจ้าของ
8. ร้านสงครามของกิลด์ สมาชิกกิลด์ที่มีอำนาจสามารถไปที่นี่เพื่อซื้อไอเทมสงครามกิลด์ ผู้ที่มีตำแหน่งหัวหน้า, รอง, ผู้อาวุโสจะซื้อได้
รถยิงหิน เปลี่ยนร่างเป็นเครื่องยิงหิน สร้างความเสียหายจำนวนมาก โดนไม่สนใจการป้องกันของประตูเมือง ไอเทมเปลี่ยนร่างของเครื่องยิงหินใช้ได้ที่ค่ายต่อสู้เท่านั้น แต่ค่ายต่อสู้ที่ดินแดนนอกเมืองจะใช้ไม่ได้
รถยิงธนู&ปืนใหญ่
พลธนู เรียกทหารพลธนูออกมาสามารถโจมตีศัตรูที่ใกล้ๆ ขอบเขตเคลื่อนที่เล็ก
ธงรบ เรียกออกมาแล้วจะเพิ่มความสามารถให้สมาชิกกิลด์ที่อยู่ใกล้ๆ เคลื่อนที่ไม่ได้
9. รางวัลกิจกรรม
คะแนนส่วนตัว ได้จาก สังหารศัตรู 1 คนได้รับ 50 คะแนน ทำลายเสามังกรจะได้ 200 คะแนน สมาชิกกิลด์ที่อยู่ในแผนที่สงครามเรียงลำดับตามคะแนนส่วนตัว เมื่อกิจกรรมจบรับรางวัลตามอันดับ
ส่งไปทางจดหมาย
รางวัลกิลด์ ส่งไปทางประมูลกิลด์
รางวัลเจ้าเมือง มีเพียงผู้นำกิลด์ที่ยึดครองเมืองเซียงหยางจึงสามารถได้รับรางวัลเจ้าเมืองรางวัลส่งไปทางจดหมายให้ผู้นำกิลด์ดังนี้
1. ได้รับฉายา“เจ้าเมืองเซียงหยาง” ฉายาจำกัดเวลามีผลจนถึงสงครามกิลด์ครั้งถัดไป ถ้าได้รับฉายาใหม่ก็จะรีเซ็ตเวลาส่งทางจดหมาย
2. ได้รับพาหนะ “เมฆาหิมะ” ไอเทมจำกัดเวลามีผลถึงสงครามกิลด์ครั้งถัดไป ส่งทางจดหมาย
3. หลังจากสงครามกิล์จบ ในแผนที่เมืองหลักเซียงหยางแสดงรูปตัวละครของผู้นำกิลด์ที่ยึดครองเมืองชื่อเป็นชื่อเจ้าเมือง ฉายาคือ “เจ้าเมืองเซียงหยาง”